โควิด-19 และ เพร็พชนิดฉีด ชะตาเดียวกัน?
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564 องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาอนุมัติให้ยาแอปพริจูด (Apretude) ให้เป็นยาชนิดฉีดเพื่อป้องกันการติดเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้ออ่านต่อ
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564 องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาอนุมัติให้ยาแอปพริจูด (Apretude) ให้เป็นยาชนิดฉีดเพื่อป้องกันการติดเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้ออ่านต่อ
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ข่าวเกี่ยวกับไวรัสผันแปรโอมะครอนที่สามารถหลบหลีกภูมิต้านทานที่เกิดจากวัคซีนได้ดีที่ทำให้ไวรัสผันแปรนี้สามารถระบาดได้ง่ายและรวดเร็วกระตุ้นให้บริษัทวัคซีนโควิดต่างๆมีแผนที่จะปรับปรุงวัคซีนโควิด-19 ของตนเป็นการเฉพาะสำหรับไวรัสผันแปรนี้ดังเช่นข่าวเกี่ยวกับบริษัทไฟเซอร์ที่กำลังปรับปรุงวัคซีนเอ็มอาร์เอ็นเอของบริษัทเพื่อใช้เฉพาะกับไวรัสผันแปรโอมะครอนและคาดว่าจะผลิตวัคซีนปรับปรุงใหม่ได้ถึง 100 ล้านโด๊สภายในต้นปีหน้า[1] การระบาดของโควิด-19 จะจบอย่างไรยังไม่เป็นที่รู้แน่ แต่ที่ค่อนข้างแน่นอนคือโควิด-19อ่านต่อ
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ไวรัสผันแปรโอมะครอน (Omicron variant) ที่แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วทำให้การตรวจการติดเชื้อที่แม่นยำและสะดวกในการใช้สำหรับคนทั่วไปมีความสำคัญมาก ชุดตรวจโควิด-19 แบบรวดเร็วและสามารถใช้ได้เองที่บ้าน (at-homeอ่านต่อ
บทความโดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ประพันธ์ ภานุภาค เอดส์อยู่กับโลกเรามาได้ 40 กว่าปีแล้ว มีผู้เสียชีวิตไปกว่า 40 ล้านคนอ่านต่อ
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ อวัยวะที่ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนาที่ก่อให้เกิดโรคโควิด-19 มากที่สุดคือปอด ไวรัสผันแปรโอมะครอนที่กำลังระบาดมากทั่วโลกในขณะนี้ดูเหมือนว่าจะไม่มีผลกระทบต่อปอดเหมือนกับไวรัสผันแปรอื่นๆ ผลของการวิจัยสามโครงการจากประเทศอาฟริกาใต้ สก็อตแลนด์ และอังกฤษแสดงว่าการติดเชื้อไวรัสผันแปรโอมะครอนทำให้เกิดอาการป่วยที่ไม่รุนแรงจนต้องได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลเหมือนกับไวรัสผันแปรอื่นๆ ที่ระบาดก่อนหน้านี้[1]อ่านต่อ
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ยาต้านไวรัสแพ็กซ์โลวิด (Paxlovid) ที่พัฒนาโดยบริษัทไฟเซอร์ได้รับอนุมัติจากองค์การอาหารและยา (FDA) ของสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 22 ธันวาคมอ่านต่อ