สิ่งที่นักมานุษยวิทยาด้านชาติพันธุ์เรียนรู้จากผู้ที่ฉีดสารเสพติด

บทความโดย  อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ บทความเกี่ยวกับนักมานุษยวิทยาแขนงที่ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมของคนเผ่าพันธุ์ต่างๆ (ethnographers)[1] ได้เรียนรู้จากผู้ใช้สารเสพติดสรุปว่า “ชาติพันธุ์วิทยา (หรือ ชาติพันธุ์วรรณนา) ทำให้เกิดข้อค้นพบที่สำคัญหลายอย่างเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้กลับมองว่าตนเองเป็นตัวรอง”Read More

ตับอักเสบในเด็กเล็กที่ไม่รู้สาเหตุ

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ในต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมารายงานเกี่ยวกับกรณีเด็กเล็กที่ป่วยเป็นโรคตับอักเสบ (hepatitis) รุนแรงที่ไม่รู้สาเหตุมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในหลายประเทศ จากข้อมูลของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค สหรัฐอเมริกา (U.S.Read More

อุปสรรคในการปรับปรุงวัคซีนโควิด-19 สำหรับไวรัสผันแปร

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ไวรัสโคโรนาที่ทำให้คนป่วยเป็นโควิด-19 ที่ถูกระบุเป็นครั้งแรกในปลายปีคศ. 2020 (พศ. 2563) มีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมไปจากเดิมมาก จากการระบาดที่เริ่มต้นในประเทศจีนจนถึงปัจจุบันที่การระบาดแพร่กระจายไปทั่วโลกมีไวรัสโคโรนาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมหลายชนิดที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีความกังวลมากเพราะไวรัสผันแปรบางชนิดแพร่ระบาดได้ดีขึ้นกว่าเดิมRead More

กรณีผู้ป่วยโควิด-19 ที่ได้รับการรักษาจนหายแต่กลับติดเชื้อใหม่มีเพิ่มมากขึ้น

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ แพทย์บางคนในสหรัฐอเมริกาสังเกตว่าไวรัสโคโรนาที่ทำให้คนป่วยเป็นโควิด-19 เป็นไวรัสที่แปลกกว่าไวรัสอื่นเพราะสำหรับผู้ป่วยโควิด-19 บางคนผลของการรักษาไม่ก้าวหน้าไปอย่างเป็นเส้นตรง ผู้ป่วยบางคนที่ได้รับการรักษาจนมีอาการดีขึ้นแล้วกลับมีอาการแย่ลง แต่ต่อมามีอาการดีขึ้นอีก ในตอนต้นนักวิจัยส่วนมากคิดว่าอาการป่วยที่ขึ้นๆ ลงๆRead More

อุปสรรคของการใช้เพร็พในบราซิล

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ประเทศบราซิลได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำเกี่ยวกับการใช้เพร็พเพื่อป้องกันเอชไอวีของทวีปอเมริกาใต้ บราซิลเป็นประเทศแรกของภูมิภาคที่มีบริการจัดสรรเพร็พโดยไม่มีค่าใช้จ่ายให้แก่ชายมีเพศสัมพันธ์กับชายและผู้ที่มีความเสี่ยงต่อเอชไอวีทั้งประเทศภายใต้ระบบสาธารณสุขของบราซิล แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ทั่วโลกแล้ว ผู้ใช้เพร็พในบราซิลเป็นเพียงส่วนน้อยมากของโลก ซึ่งจากเป้าหมายของโครงการเอดส์แห่งสหประชาชาติ หรือRead More

บริการเพร็พสำหรับผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ความเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อเอชไอวีและการแพร่เชื้อต่อไปของผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีการฉีดสูงกว่าคนโดยทั่วไปทั้งจากพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการใช้สารเสพติด เช่น การฉีดสารเสพติดเข้าเส้น การใช้เข็มฉีดยาและอุปกรณ์ฉีดยาร่วมกับผู้อื่น และการมีพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงที่เกิดขึ้นเมื่อใช้สารเสพติด เช่น เพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกันRead More

แพ็กซ์โลวิดสำหรับป้องกันโควิด-19

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ การป้องกันการติดไวรัสเอชไอวีที่ได้ผลดีมากวิธีการหนึ่งคือการกินยาต้านไวรัสเอชไอวีที่ใช้สำหรับรักษาผู้ที่มีเอชไอวี การป้องกันเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัสได้รับการพิสูจน์จากการวิจัยทางคลินิกหลายโครงการและในปัจจุบันมียาต้านไวรัสเอชไอวีที่ได้รับอนุมัติให้ใช้สำหรับป้องกันการติดเอชไอวีทั้งยาชนิดกินและยาชนิดฉีด โดยหลักการณ์เดียวกันการป้องกันการติดไวรัสซาร์สโควีทู (SARS-CoV-2) ที่ทำให้คนป่วยเป็นโควิด-19 ด้วยยาต้านไวรัสที่ใช้สำหรับรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ก็น่าจะได้ผลเช่นกันRead More

ผู้ใช้เพร็พเกือบครึ่งหยุดใช้เพร็พภายในหกเดือนแรก

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ การกินยาต้านไวรัสก่อนการสัมผัสเชื้อหรือเพร็พเป็นการป้องกันเอชไอวีที่ได้ผลดีมากหากผู้ใช้กินยาทุกวันในช่วงชีวิตที่มีความเสี่ยงต่อการติดเอชไอวีจากเพศสัมพันธ์ และผลของการวิจัยทางคลินิกหลายโครงการแสดงว่าสำหรับชายมีเพศสัมพันธ์กับชายและชายที่มีเพศสัมพันธ์กับคนทั้งสองเพศนั้นการกินยาต้านไวรัสอย่างน้อยสี่วันต่ออาทิตย์ขึ้นไปก็ยังสามารถป้องกันการติดเอชไอวีได้ดี และการกินยาต้านไวรัสเฉพาะเวลาที่มีโอกาสสัมผัสกับไวรัสที่เป็นการใช้เพร็พที่เรียกว่า event-driven PrEP (การใช้เพร็พตามเหตุการณ์[เสี่ยง]หรือที่เรียกกันว่าการใช้เพร็พตามต้องการ) ที่กินยาต้านไวรัสก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงก็ยังสามารถป้องกันเอชไอวีได้ดีเช่นกันRead More

วัคซีนเอชพีวีชนิดฉีดเข็มเดียวเพื่อป้องกันมะเร็งปากมดลูก

บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่าในปีคศ. 2020 มีผู้หญิงที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งปากมดลูก 604,000 คนและผู้หญิงจำนวน 342,000 คนเสียชีวิตเนื่องจากมะเร็งปากมดลูกRead More