From Medical Innovation to Access to Treatment for all: How endemic countries can lead efforts to ensure access for patients in the Global South
Our Executive Director, Dr. Nittaya Phanuphak, will be speaking at
Our Executive Director, Dr. Nittaya Phanuphak, will be speaking at
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ จากเวทีชุมชนเกี่ยวกับยาต้านไวรัสชนิดฉีดที่ออกฤทธิ์นานสำหรับป้องกันเอชไอวีประเด็นสำคัญที่ได้รับการเอ่ยถึงมากประเด็นหนึ่งคือการฉีดยาในตำแหน่งอื่นของร่างกายแทนที่จะฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพกซึ่งการฉีดยาในตำแหน่งอื่นอาจทำให้การจัดสรรบริการโดยองค์กรชุมชนเป็นไปได้ง่ายขึ้นและทำให้การฉีดยาด้วยตนเองเป็นสิ่งที่ทำได้ด้วย ในการประชุมเอดส์นานาชาติ ครั้งที่ 24 ที่เมืองมอลทรีออล ประเทศคานาดา ที่เพิ่งผ่านไปมีการนำเสนอผลการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ผู้ที่เป็นฝีดาษลิงที่กำลังระบาดไปทั่วโลกในขณะนี้จำนวนมากเป็นผู้มีเอชไอวี จากข้อมูลของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคของสหรัฐอเมริกา (US CDC) 38% ของผู้ที่เป็นฝีดาษลิงทั้งหมด 2,000
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ การระบาดของฝีดาษลิงในปัจจุบันที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วไปทั่วโลกตั้งแต่รายงานการติดเชื้อครั้งแรกจากสหราชอาณาจักรในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ในปัจจุบันมีกรณีติดเชื้อฝีดาษลิงมากกว่า 39,000 รายที่รวมถึงกรณีที่เสียชีวิต 12 กรณีจาก 92
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ เมื่อการระบาดของฝีดาษลิงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในหลายประเทศทั่วโลก ความต้องการฉีดวัคซีนจีนนีโอส (Jynneos) ซึ่งเป็นวัคซีนที่ได้รับอนุมัติเพื่อใช้ในการป้องกันฝีดาษลิงมีมากเกินกว่าจำนวนวัคซีนที่มีอยู่ในคลังวัคซีนของแต่ละประเทศ และเกินศักยภาพของบริษัทผลิตวัคซีนที่จะตอบสนองความต้องการเร่งด่วนในขณะนี้ได้ [1]ทำให้เกิดแรงกดดันต่อรัฐบาลของประเทศ สหรัฐอเมริกาให้นำเอาวัคซีนอาแคม2000 (ACAM2000)
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ ในการประชุมเอดส์ 2022 (AIDS 2022) ที่เมืองมอลทรีออล ประเทศคานาดาที่เพิ่งเสร็จสิ้นไป การป้องกันเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อด้วยยาต้านไวรัสคาโบเทกราเวียร์ชนิดฉีดที่ออกฤทธิ์นาน
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ หลังจากที่องค์การอนามัยโลกประกาศว่าการระบาดของฝีดาษลิงเป็นภาวะวิกฤตด้านสุขภาพของโลกเมื่อ วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวันที่
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ การระบาดของโรคฝีดาษลิง (monkeypox) ที่รายงานเกี่ยวกับผู้ป่วยที่อยู่นอกทวีปอาฟริกามีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงสองเดือนเศษๆ สร้างความกังวลให้แก่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ทำให้องค์การอนามัยโลกตัดสินใจว่าโรคฝีดาษลิงเป็นภาวะวิกฤตด้านสุขภาพของโลกเมื่อวันเสาร์ที่
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ องค์การอนามัยโลกประกาศว่าโรคฝีดาษลิง (monkeypox) เป็นภาวะวิฤตด้านสุขภาพของโลกเมื่อวันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม ที่ผ่านมา หลังจากการประชุมครั้งที่สองของคณะกรรมการฉุกเฉินเกี่ยวกับไวรัสขององค์การอนามัยโลก
บทความโดย อุดม ลิขิตวรรณวุฒิ บทความเกี่ยวกับนักมานุษยวิทยาแขนงที่ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมของคนเผ่าพันธุ์ต่างๆ (ethnographers)[1] ได้เรียนรู้จากผู้ใช้สารเสพติดสรุปว่า “ชาติพันธุ์วิทยา (หรือ ชาติพันธุ์วรรณนา) ทำให้เกิดข้อค้นพบที่สำคัญหลายอย่างเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้กลับมองว่าตนเองเป็นตัวรอง”